แมลงสาบ (Cockroach)
* สำรวจบริเวณพื้นที่ทั้งหมดโดยละเอียด เพื่อประเมินสภาพปัญหาก่อนทำการบริการ
* ฉีดพ่น (Spraying)สารเคมี ภายใน และรอบนอกอาคารโดยเน้นแหล่งหลบซ่อนที่พบตัว, แหล่งอาหารและบริเวณที่สำรวจพบร่องรอยหลักฐานที่เกิดจากแมลงสาบ มูล
กลิ่นสาบ
* อบควันเคมี (Fogging) ตามรอยแตกแยก และแหล่งหลบซ่อนที่ไม่สามารถฉีดพ่นด้วยสารเคมีได้ เช่นท่อระบายน้ำทิ้ง,ใต้ถุนอาคาร
* วางสถานีกาวดักจับ
(Glue
Board Station) ในบริเวณที่เหมาะสม
ซึ่งการใช้สารเคมีน้ำ และเคมีผงไม่อาจดำเนินการได้
* การทาแลคเกอร์(Lacquering)ซึ่งเป็นสารเคมีที่มีระยะการตกค้างที่ยาวนาน
ใช้ตามบริเวณที่ไม่เหมาะสมต่อวิธีการอื่นๆ ดังกล่าวมาทั้งหมด
ซึ่งเป็นบริเวณที่มีการระบาดของแมลงอย่างรุนแรง
* วางเหยื่อพิษสำเร็จรูปชนิดเจล(Gel) ซึ่งเป็นเหยื่อแมลงสาบที่มีความปลอดภัยสูงใช้สำหรับพื้นที่ที่มีการระบาดขอแมลงสาบและในจุดที่ไม่สามารถใช้สารเคมีชนิดน้ำได้
เช่นภายในห้องครัว,ร้านอาหาร,ภัตตาคาร,ไลน์ผลิตอาหาร และเจลชนิดนี้มีการกำจัด และทำลายแมลงสาบอย่างต่อเนื่อง(Domino)
และมีผลการทำลายที่ยาวนาน
* ตรวจเช็ค/ติดตามผล
และทำบริการอย่างต่อเนื่อง
* คำแนะนำเรื่องสุขาภิบาล
หรือการดูแลรักษาความสะอาดของอาคารและสถานที่
ซึ่งเป็นมาตรการในการลดปัจจัยที่ทำไห้เกิดการแพร่ขยายพันธ์ อันได้แก่ อาหาร,ที่อยู่อาศัย
และ น้ำ
* ขอความร่วมมือในการเข้าบริการ
เพราะการฉีดพ่นแมลงสาบจะต้องกระทำอย่างละเอียดถี่ถ้วนทั่วทุกซอกทุกมุมที่เป็นแหล่งหลบซ่อน/พักอาศัยของแมลงสาป
บริเวณปิดล็อคที่ฉีดพ่น หรือทำการบริการไม่ได้จะเป็นจุดแพร่ระบาดของแมลงสาบ
ทำให้การควบคุมไม่ได้ผล
สารเคมีที่ใช้
* DELTAMETHRIN. * PERMETHRIN. * Cypermethrin
|